Monday, January 7, 2013

หมวด ป



คําที่ถูก
มักเขียนผิดเป
หมายเหตุ
หมวด ป


ปฏิกิริยา
ปฏิกริยา

ปฏิสันถาร
ปฏิสัณฐาน, ปฏิสันถาน

ปฏิทิน
ปติทิน

ปฏิพัทธ
ประติพัทธ

ปฏิสังขรณ
ปฏิสังขร

ปฐมนิเทศ
ปฐมนิเทศก, ปฐมนิเทศน

ปณิธาน, ประณิธาน
ปนิธาน, ประนิธาน
ตั้งใจไว
ปรนนิบัติ
ปรณนิบัติ

ปรมาณู
ปรมณู
ปรม + อณู
ปรองดอง
ปองดอง

ประกายพรึก
ประกายพฤกษ

ประกาศิต
ประกาษิต

ประจัญบาน
ประจันบาน, ประจันบาล, ประจัญบาล

ประจันหน
ประจัญหน

ประจันหอง
ประจัญหอง

ประจําการ
ประจําการณ

ประณต
ประนต
 (กริยา) อมไหว
ประณม
ประนม
 (อาการนาม) การนอมไหว
ประณาม
ประนาม

ประณีต
ปราณีต, ประนีต

ประดิดประดอย
ประดิษฐประดอย

ประนีประนอม
ประณีประณอม

ประเมิน
ประเมิณ
มักสับสนกับ "ประมาณ"
ประสบการณ
ประสพการณ

ประสูติ
ประสูต, ประสูตร

ประสูติการ
ประสูติกาล
การคลอด
ประสูติกาล
ประสูติการ
เวลาที่คลอด
ประหลาด
ปะหลาด, ปลาด

ประหัตประหาร
ประหัดประหาร, ประหัตถประหาร

ประหาณ หรือ ปหาน
ประหาร
 - "ประหาณ" หรือ "ปหาน" หมายถึง ละทิ้ง เชน สมประหาณ (การตัดขาดและการละทิ้ง), ปหานกิเลส


- "ประหาร" หมายถึง ตี ฟน ทําลาย หรือ ฆา เชน ประหารชีวิต, ในภาษาบาลีใช "ปหาร"
ปรัมปรา
ปรําปรา, ปะรําปะรา
านวา ปะ-รํา-ปะ-รา
ปรัศนี
ปรัศนีย

ปรากฏ
ปรากฎ
ใช ฏ ปฏัก
ปรารถนา
ปราถนา
านว"ปราด-ถะ-หนา"
ปลนสะดม
ปลนสดมภ
สดมภ แปลวา เสาหรือชองตามแนวต
ปวารณา
ปวารนา

ปะแล
ปแล, แปล

กษิน
กษิณ

ปาฏิหาริย
ปาฏิหาร, ปาฏิหารย

กนิก
คนิค
คําทับศัพท
ปุโรหิต
ปุโลหิต

เปอรเซ็นต
เปอรเซนต
คําทับศัพท
เปอเหลอ
เปอเล
อักษรต่ำ ไมใชวรรณยุกตจัตวา


No comments:

Post a Comment